Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  คุณภาพเนื้อของโคดอย และโคขาวลำพูน เปรียบเทียบกับโคลูกผสมบราห์มัน
Meat quality of mountainous and white Lamphun cattle compared to brahman crossbred
Autores:  Sukanya Yodsoi
Niraporn Chaiwang
Saowaluck Yammuen-art
Korawan Sringarm
Songkiet Suwansirikul
Sanchai Jaturasitha
Data:  2015-06-08
Ano:  2013
Palavras-chave:  Mountainous cattle
White Lamphun cattle
Brahman crossbred cattle
Meat quality
Water holding capacity
WHC
Sensory evaluation
Shear force
Collagen content
โคดอย
โคขาวลำพูน
โคลูกผสมบราห์มัน
โคเนื้อ
โคพื้นเมือง
คุณภาพเนื้อ
กล้ามเนื้อสันนอก
ความสามารถในการอุ้มน้ำของเนื้อ
การประเมินทางประสาทสัมผัส
แรงตัดผ่าน
ปริมาณคอลลาเจน
Resumo:  The study was conducted to investigate the meat quality of Mountainous and White Lamphun cattle compared to Brahman crossbred. Twenty four cattle with the average age of 4 years old, and raised under natural grazing conditions were used in the experiment in a completely randomized design. The result found that Longissimus dorsi of Mountainous beef had lower (P < 0.05) maximum shear force value (51.8 N) and higher (P < 0.05) soluble collagen content (0.317 g/100g meat) compared to Brahman crossbred (55.0 N and 0.261 g/100g meat) and White Lamphun beef (58.8 N and 0.270 g/100g meat). Moreover, the insoluble and total collagen content of Mountainous beef was lower than (0.869 and 1.19 g/100g meat) Brahman crossbred (0.950 and 1.21 g/100g meat) and white Lamphun beef (1.18 and 1.45 g/100g meat; P < 0.05). This suggested that the Mountainous beef was tenderer than the Brahman crossbred and White Lamphun beef. However, the water holding capacity and sensory evaluation were not statistically significant different (P > 0.05) among these beef. In conclusion, with the tenderness quality the Mountainous beef can be considered as the alternative beef for consumer.

การศึกษาคุณภาพเนื้อของโคดอย และโคขาวลำพูน เปรียบเทียบกับเนื้อโคลูกผสมบราห์มัน ที่เลี้ยงแบบปล่อยตามธรรมชาติ อายุเฉลี่ย 4 ปี จำนวน 24 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (completely Randomized Design, CRD) พบว่าเนื้อสันนอกของโคดอยมีค่าแรงตัดผ่านต่ำที่สุด (51.8 N; P < 0.05) และปริมาณคอลลาเจนที่ละลายได้สูงกว่า (0.317 g/100g meat; P < 0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับโคลูกผสมบราห์มัน (55.0 N และ 0.261 g/100g meat) และโคขาวลำพูน (58.8 N และ 0.270 g/100g meat ) นอกจากนี้ปริมาณคอลลาเจนที่ไม่ละลายและคอลลาเจนทั้งหมดของโคดอยมีค่าต่ำกว่า (0.869 และ 1.19 g/100g meat) โคลูกผสมบราห์มัน (0.950 และ 1.21 g/100 g meat) และโคขาวลำพูน (1.18 และ 1.45 g/100 g meat; P < 0.05) ในขณะที่ค่าความสามารถในการอุ้มน้ำของเนื้อ และการประเมินทางประสาทสัมผัส มีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P > 0.05) ดังนั้นเนื้อโคดอยจึงเป็นเนื้อทางเลือกสำหรับผู้บริโภคได้ เพราะมีความนุ่มสูงกว่า
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5789

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 45-50

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 45-50
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional